วันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2552

taj Mahal

taj Mahal






ตำแหน่งที่ตั้ง
ฝั่งขวาแม่น้ำยมนา ประเทศอินเดีย
ปัจจุบัน
สามารถเข้าเยี่ยมชมได้
รายละเอียด
เป็นอนุสาวรีย์แห่งความรัก สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1631 เสร็จ ค.ศ. 1648 รวมเวลาก่อสร้าง 17 ปี ใช้เวลาตกแต่ง 5 ปี รวมเวลาทั้งหมด 22 ปี ใช้งบประมาณก่อสร้าง 30 ล้านรูปี คนงานก่อสร้าง 20,000 คน ทัชมาฮาลสร้างขึ้นโดยกษัตริย์ชาร์เจฮาน แห่งราชวงศ์โมกุล สร้างขึ้นเพื่อบรรจุศพของพระนางมุมทัส มาฮาล ซึ่งเป็นพระมเหสีสุดที่รักของพระองค์ โดยสร้างขึ้นบริเวณฝั่งขวาแม่น้ำยมนา ตอนโค้งที่สวยงามในเนื้อที่ 625 ไร่ ทัชมาฮาลทำด้วยหินอ่อนสีขาว ภายในสุสานใต้โดมใหญ่เป็นที่ประดิษฐานหีบศพของพระนางมุมทัส และกษัตริย์ชาร์เจฮาน

ด้วยความงามจากหินอ่อนและ สถาปัตยกรรมที่วิจิตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำยมนา ณ เมืองอัคราทางตอนเหนือ ของประเทศอินเดีย อันเกิดจากชายผู้ หนึ่งซึ่งเป็นถึงองค์จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์โมกุล พระนามว่า ชาร์ จาฮาล ทรงสร้างเพื่อรำลึกถึง พระมเหสีองค์ที่ 2 ของพระองค์ พระนางมุมตัส มาฮาล อันมีกำเนิดเป็น หญิงสูงศักดิ์ชาวเปอร์ เซีย ซึ่งสิ้นพระชนม์ลงภายหลังประสูติพระโอรส องค์ที่ 14 ในขณะที่ทรงร่วมกับพระสวามีต่อต้านข้าศึก ที่เข้ามารุกราน ณ เมือง เบอร์แฮนเพอร์ เล่ากันมา การสิ้นพระชนม์ของพระนาง ทำให้ชาร์ จาฮาล โศก เศร้าเสียใจเป็นอันมา จนทำให้พระเกศาของพระองค์ ขาวโพลนในเวลาเพียงไม่กี่เดือนหลังจากนั้น ความวิจิตรตระการตาของ ทัส มาฮาล ต้องใช้เวลาในการก่อสร้างนานถึง 22 ปี แต่ผลสุดท้าย ชาร์ จาฮาล ก็ได้แต่เพียงยลโฉมความงามของทัส มาฮาล ผ่านช่องหน้าต่างในคุกเท่านั้น ณ ป้อมเมืองอัคราเท่านั้น
เมื่อครั้งแรกพบ พระนางมุมตัส มาฮาล หรือในพระนามเดิมว่า อาจูมานด์ บานู กำลังขายเครื่องประดับใน เทศกาลออกร้านครั้งหนึ่งอันถือเป็นขนบ ธรรมเนียมประเพณีที่เปิดโอกาสให้หญิงสูงศักดิ์มาขายเครื่องประดับเล็กๆ น้อยๆแก่ชายหนุ่มสูงศักดิ์ด้วยราคาที่แพงลิบลิ่วเพียงเพื่อให้ทั้งคู่ได้สานทอ สายใยแห่งรัก จนถึงขั้นหมั้นหมายและแต่งงานกันหลังจากการพบกันครั้งแรก จนก่อให้เกิดพระราชพิธีอภิเษกสมรสขึ้นใน วันที่ 30 เมษายน 1612 ชาว เมืองอัครเข้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีอย่าง โดยความปิติยินดีต่อองค์จักรพรรดิ เจ้าสาว พระชนมายุเพียง 19 ชันษา ได้รับพระราชทานพระนามใหม่เป็นพระนางมุมตัส มาฮาล อันเป็นชื่อวังแห่งหนึ่งขององค์จักรพรรดิ ขณะที่พระนางมุมตัส มาฮาลดำรงพระชนม์ชีพอยู่นั้น ได้เคยขอสัญญาจาก ชาร์ จาฮาล ไว้ 4 ข้อ หาก พระนางสิ้นพระชนม์ลง คือ 1.ต้องสร้างทัสมาฮาลเป็นสุสานของพระนาง 2.ให้องค์จักรพรรดิ์อภิเษก สมรสอีกครั้ง 3.องค์จักรพรรดิควรมีราชกรุณาต่อเด็กๆ 4.ต้องเสด็จราชดำเนินไปยังทัส มาฮาลอันเป็นที่ ฝั่งศพของพระนางทุกๆปี ภายหลังจากที่พระนางมุมตัสสิ้นพระชนม์ลง ชาร์ จาฮาล ทรงกระทบ กระเทือนพระทัยอย่างมาก ถึงกับงดการว่าราชการ ไม่ฉลองพระองค์ เยี่ยงกษัตริย์ เสวยอาหารพื้นๆและไม่ฟังดนตรี พระองค์ทรงเอาแต่กันแสง เส้นพระเกศาหงอกขาวอย่างรวดเร็ว ทรงเลิกเป็นผู้นำทัพไปปกป้องชาย แดน เอาแต่ประทับอยู่ในวัง มอบหมายให้ข้าราชบริพารไปทำกันหมด ความโศกเศร้าต่อการจากไปของนางอันเป็ที่รักกินเวลานานถึง 2 ปี
หลังจากนั้นพระองค์ทรงปฎิบัติตามสัญญาทรงก่อสร้าง ทัสมาฮาลในปี 1631 การก่อสร้างใช้เวลานานถึง 22 ปี ใช้คนงานและช่างฝีมือเกือบ 20,000 คน มีการขนหินอ่อนสีขาวจากเมืองโชตบุระ ที่ไกลประมาณ 100 ไมล์ นอกจากนี้ยังมีอัญมณีมีค่าประดับประดาสุสาน ตั้งแต่หินลายสีฟ้าจาก ลังกา หินสีเขียวจากรัส เซีย หินโมราจากกรุงแบกแดดและพลอยจาก ทิเบต ยังต้องใช้ช้างนับพันตัวเพื่อขนย้ายวัสดุอุปกณ์เหล่านี้เข้ามา ทัสมาฮาลถือเป็นผลงานการออกแบบขั้นเอกอุจากสถาปนิกชาวอินหร่าน นามว่า อิทัส อูซา และ นอกจากความงามของสถาปัตยกรรมแล้ว สิ่งที่เสริมความงามของทัส มาฮาล นั้นก็คือ การเป็น "สัญญลักษณ์ของความรักชั่วนิรันดร์" ทัส มาฮาล และสิ่งก่อสร้างรายล้อมแล้วเสร็จในปี 1652 เมื่อผู้มาเยี่ยมชมเดินผ่านความมืดออกจาก ซุ้มประตูโค้ง ก็จะเห็นสถาปัตยกรรมหินอ่อนสีขาว ผุดผ่องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ได้สัดส่วนกลมกลืนกันอย่าง เหมาะเจาะ สายตาจะถูกชี้นำด้วยทางน้ำที่เป็นเส้น ตรงเพื่อให้พื้นที่ในระดับสายตาซึ่งเป็นที่ตั้งของสิ่ง ก่อสร้าง อันมีฐานรองรับเป็นหินทรายและหินอ่อน เบื้องบนเป็นโดมกลมชูยอดแหลมเสียดฟ้า รายล้อม ด้วยหอคอยยอดกลมตั้งขนาบตรงมุมทั้ง 4 ทิศ
ความงดงามของหินอ่อนสีขาวยามสะท้องแสงแดด ทั้งในอรุณรุ่งและ สายัณห์จะค่อยๆเปลี่ยนสีผิวของสิ่ง ก่อสร้างนั้นเป็นสีม่วง สีแดงกุหลาบ และสีทอง ท่ามกลางละอองหมอกในตอนเช้า สิ่งก่อสร้างดูเหมือน วิมานในหมู่เมฆ ราวกับกลุ่มละอองหมอกก่อรูปขึ้นมาให้กลมกลืนประดุจ เป็นองค์ประกอบเดียวกัน ยิ่งกว่านั้น ความตระหง่านทะมึนใต้แสงจันทร์ เต็มดวงของทัชมาฮาลดูสง่า เมื่อแสงที่สะท้อนจากตัวโดม เปล่งรัศมีดุจ ไอน้ำอีกทั้งยังสะท้อนแสงกระเพื่อมของน้ำจากสระรูปวงรี ผู้มาเยือนเดินเลียบไปตามเส้นทางน้ำที่เรียงรายเป็นทิวแถวด้วยไม้สนไซเพร็ส ก็จะค่อยๆแลเห็นเนื้อผิว หินอ่อนที่ขาวผุดผ่องของตัวสุสานอันเป็นเจตนา ของผู้ก่อสร้าง มีลวดลายดอกจากงานฝีมือฝังมุก และลวดลายอาหรับผสม ผสานเข้ากับบทสวดจากคัมภีร์กุรอ่านจากรึกไว้เหนือประตูทางเข้าด้วยอักษรลายมือ เหนือขึ้นไปอีกเป็นโดมมหึมาสูงประมาณ 230 ฟุต เปล่งปลั่งอยู่ท่ามกลางแสงแดด เหมือนดอกไม้ตูม ขนาดยักษ์ ถึงแม้ ชาร์ จาฮาล ปฎิบัติตามสัญญาได้ทั้ง 3 ข้อ แต่ในข้อสุดท้ายนั้น พระองค์ไม่อาจปฎิบัติได้ เพราะว่า ในปี 1658 พระราชโอรสพระองค์หนึ่งของพระองค์ นามว่า ออรังเซบ ไม่อาจเห็นการใช้จ่ายเงินอย่าง ฟุ่มเฟือย อันก่อให้เกิดความเดือนร้อนต่ออาณาประชาราษฎร์ จึงทรงก่อการปฎิวัติแล้วจับองค์ ขาร์ จาฮาล คุมขังในป้อมเมืองอัครา ชาร์ จาฮาล จากที่เคยมีความสุขจากทรพัย์ศฤงคารมากเหลือคณานับ สุดท้าย บั้นปลายพระชนม์ชีพของพระองค์ ต้องประทับในที่คุมขังเป็นเวลานานถึง 8 ปี และสิ้นพระชนม์ลงในปี 1666 พระองค์ทรงได้แต่เพียงเขย่งพระบาทเกาะช่องหน้าต่างลูกกรงเหล็ก ทอดพระเนตรไปยังฝั่งตรง ข้ามของแม่น้ำยมนา เฝ้ามองสุสานของพระนางอันเป็นที่รัก ในที่สุดเมื่อองค์ ชาร์ จาฮาล สิ้นพระชนม์ลง พระศพของพระองค์ได้ถูกนำไปฝังเคียงข้างพระนางมุมตัส ภายใต้โดมหินอ่อนอันเป็นอนุสรณ์แห่งความ รัก นามว่า "ทัส มาฮาล"





ขอต้อนรับสู่หัวข้อใหม่ของ web ความรัก คือ รักนี้มีตำนาน สำหรับบท ความแรกขอ เสนอเรื่องราวของ อนุสรณ์สถานอันเป็นสัญญลักษณ์ของ ความรัก นั้นคือ ทัสมาฮาล ด้วยความงามจากหินอ่อนและ สถาปัตยกรรมที่วิจิตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำยมนา ณ เมืองอัคราทางตอนเหนือ ของประเทศอินเดีย อันเกิดจากชายผู้ หนึ่งซึ่งเป็นถึงองค์จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์โมกุล พระนามว่า ชาร์ จาฮาล ทรงสร้างเพื่อรำลึกถึง พระมเหสีองค์ที่ 2 ของพระองค์ พระนางมุมตัส มาฮาล อันมีกำเนิดเป็น หญิงสูงศักดิ์ชาวเปอร์ เซีย ซึ่งสิ้นพระชนม์ลงภายหลังประสูติพระโอรส องค์ที่ 14 ในขณะที่ทรงร่วมกับพระสวามีต่อต้านข้าศึก ที่เข้ามารุกราน ณ เมือง เบอร์แฮนเพอร์ เล่ากันมา การสิ้นพระชนม์ของพระนาง ทำให้ชาร์ จาฮาล โศก เศร้าเสียใจเป็นอันมา จนทำให้พระเกศาของพระองค์ ขาวโพลนในเวลาเพียงไม่กี่เดือนหลังจากนั้น ความวิจิตรตระการตาของ ทัส มาฮาล ต้องใช้เวลาในการก่อสร้างนานถึง 22 ปี แต่ผลสุดท้าย ชาร์ จาฮาล ก็ได้แต่เพียงยลโฉมความงามของทัส มาฮาล ผ่านช่องหน้าต่างในคุกเท่านั้น ณ ป้อมเมืองอัคราเท่านั้นเมื่อครั้งแรกพบ พระนางมุมตัส มาฮาล หรือในพระนามเดิมว่า อาจูมานด์ บานู กำลังขายเครื่องประดับใน เทศกาลออกร้านครั้งหนึ่งอันถือเป็นขนบ ธรรมเนียมประเพณีที่เปิดโอกาสให้หญิงสูงศักดิ์มาขายเครื่องประดับเล็กๆ น้อยๆแก่ชายหนุ่มสูงศักดิ์ด้วยราคาที่แพงลิบลิ่วเพียงเพื่อให้ทั้งคู่ได้สานทอ สายใยแห่งรัก จนถึงขั้นหมั้นหมายและแต่งงานกัน หลังจากการพบกันครั้งแรก จนก่อให้เกิดพระราชพิธีอภิเษกสมรสขึ้นใน วันที่ 30 เมษายน 1612 ชาว เมืองอัครเข้าร่วมเฉลิมฉลองในพิธีอย่าง โดยความปิติยินดีต่อองค์จักรพรรดิ เจ้าสาว พระชนมายุเพียง 19 ชันษา ได้รับพระราชทานพระนามใหม่เป็นพระนางมุมตัส มาฮาล อันเป็นชื่อวังแห่งหนึ่งขององค์จักรพรรดิขณะที่พระนางมุมตัส มาฮาลดำรงพระชนม์ชีพอยู่นั้น ได้เคยขอสัญญาจาก ชาร์ จาฮาล ไว้ 4 ข้อ หาก พระนางสิ้นพระชนม์ลง คือ 1.ต้องสร้างทัสมาฮาลเป็นสุสานของพระนาง 2.ให้องค์จักรพรรดิ์อภิเษก สมรสอีกครั้ง 3.องค์จักรพรรดิควรมีราชกรุณาต่อเด็กๆ 4.ต้องเสด็จราชดำเนินไปยังทัส มาฮาลอันเป็นที่ ฝั่งศพของพระนางทุกๆปี ภายหลังจากที่พระนางมุมตัสสิ้นพระชนม์ลง ชาร์ จาฮาล ทรงกระทบ กระเทือนพระทัยอย่างมาก ถึงกับงดการว่าราชการ ไม่ฉลองพระองค์ เยี่ยงกษัตริย์ เสวยอาหารพื้นๆและไม่ฟังดนตรี พระองค์ทรงเอาแต่กันแสง เส้นพระเกศาหงอกขาวอย่างรวดเร็ว ทรงเลิกเป็นผู้นำทัพไปปกป้องชาย แดน เอาแต่ประทับอยู่ในวัง มอบหมายให้ข้าราชบริพารไปทำกันหมด ความโศกเศร้าต่อการจากไปของนางอันเป็ที่รักกินเวลานานถึง 2 ปีหลังจากนั้นพระองค์ทรงปฎิบัติตามสัญญาทรงก่อสร้าง ทัสมาฮาลในปี 1631 การก่อสร้างใช้เวลานานถึง 22 ปี ใช้คนงานและช่างฝีมือเกือบ 20,000 คน มีการขนหินอ่อนสีขาวจากเมืองโชตบุระ ที่ไกลประมาณ 100 ไมล์ นอกจากนี้ยังมีอัญมณีมีค่าประดับประดาสุสาน ตั้งแต่หินลายสีฟ้าจาก ลังกา หินสีเขียวจากรัส เซีย หินโมราจากกรุงแบกแดดและพลอยจาก ทิเบต ยังต้องใช้ช้างนับพันตัวเพื่อขนย้ายวัสดุอุปกณ์เหล่านี้เข้ามา ทัสมาฮาลถือเป็นผลงานการออกแบบขั้นเอกอุจากสถาปนิกชาวอินหร่าน นามว่า อิทัส อูซา และ นอกจากความงามของสถาปัตยกรรมแล้ว สิ่งที่เสริมความงามของทัส มาฮาล นั้นก็คือ การเป็น "สัญญลักษณ์ของความรักชั่วนิรันดร์" ทัส มาฮาล และสิ่งก่อสร้างรายล้อมแล้วเสร็จในปี 1652 เมื่อผู้มาเยี่ยมชมเดินผ่านความมืดออกจาก ซุ้มประตูโค้ง ก็จะเห็นสถาปัตยกรรมหินอ่อนสีขาว ผุดผ่องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ได้สัดส่วนกลมกลืนกันอย่าง เหมาะเจาะ สายตาจะถูกชี้นำด้วยทางน้ำที่เป็นเส้น ตรงเพื่อให้พื้นที่ในระดับสายตาซึ่งเป็นที่ตั้งของสิ่ง ก่อสร้าง อันมีฐานรองรับเป็นหินทรายและหินอ่อน เบื้องบนเป็นโดมกลมชูยอดแหลมเสียดฟ้า รายล้อม ด้วยหอคอยยอดกลมตั้งขนาบตรงมุมทั้ง 4 ทิศ ความงดงามของหินอ่อนสีขาวยามสะท้องแสงแดด ทั้งในอรุณรุ่งและ สายัณห์จะค่อยๆเปลี่ยนสีผิวของสิ่ง ก่อสร้างนั้นเป็นสีม่วง สีแดงกุหลาบ และสีทอง ท่ามกลางละอองหมอกในตอนเช้า สิ่งก่อสร้างดูเหมือน วิมานในหมู่เมฆ ราวกับกลุ่มละอองหมอกก่อรูปขึ้นมาให้กลมกลืนประดุจ เป็นองค์ประกอบเดียวกัน ยิ่งกว่านั้น ความตระหง่านทะมึนใต้แสงจันทร์ เต็มดวงของทัชมาฮาลดูสง่า เมื่อแสงที่สะท้อนจากตัวโดม เปล่งรัศมีดุจ ไอน้ำอีกทั้งยังสะท้อนแสงกระเพื่อมของน้ำจากสระรูปวงรีผู้มาเยือนเดินเลียบไปตามเส้นทางน้ำที่เรียงรายเป็นทิวแถวด้วยไม้สนไซเพร็ส ก็จะค่อยๆแลเห็นเนื้อผิว หินอ่อนที่ขาวผุดผ่องของตัวสุสานอันเป็นเจตนา ของผู้ก่อสร้าง มีลวดลายดอกจากงานฝีมือฝังมุก และลวดลายอาหรับผสม ผสานเข้ากับบทสวดจากคัมภีร์กุรอ่านจากรึกไว้เหนือประตูทางเข้าด้วยอักษรลายมือ เหนือขึ้นไปอีกเป็นโดมมหึมาสูงประมาณ 230 ฟุต เปล่งปลั่งอยู่ท่ามกลางแสงแดด เหมือนดอกไม้ตูม ขนาดยักษ์ ถึงแม้ ชาร์ จาฮาล ปฎิบัติตามสัญญาได้ทั้ง 3 ข้อ แต่ในข้อสุดท้ายนั้น พระองค์ไม่อาจปฎิบัติได้ เพราะว่า ในปี 1658 พระราชโอรสพระองค์หนึ่งของพระองค์ นามว่า ออรังเซบ ไม่อาจเห็นการใช้จ่ายเงินอย่าง ฟุ่มเฟือย อันก่อให้เกิดความเดือนร้อนต่ออาณาประชาราษฎร์ จึงทรงก่อการปฎิวัติแล้วจับองค์ ขาร์ จาฮาล คุมขังในป้อมเมืองอัครา ชาร์ จาฮาล จากที่เคยมีความสุขจากทรพัย์ศฤงคารมากเหลือคณานับ สุดท้าย บั้นปลายพระชนม์ชีพของพระองค์ ต้องประทับในที่คุมขังเป็นเวลานานถึง 8 ปี และสิ้นพระชนม์ลงในปี 1666 พระองค์ทรงได้แต่เพียงเขย่งพระบาทเกาะช่องหน้าต่างลูกกรงเหล็ก ทอดพระเนตรไปยังฝั่งตรง ข้ามของแม่น้ำยมนา เฝ้ามองสุสานของพระนางอันเป็นที่รัก ในที่สุดเมื่อองค์ ชาร์ จาฮาล สิ้นพระชนม์ลง พระศพของพระองค์ได้ถูกนำไปฝังเคียงข้างพระนางมุมตัส ภายใต้โดมหินอ่อนอันเป็นอนุสรณ์แห่งความ รัก นามว่า "ทัส มาฮาล"







ทัชมาฮาล

ทัชมาฮาล เป็นอนุเสาวรีย์สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1631 เสร็จ ค.ศ.1648 รวมก่อสร้าง 17ปี ใช้เวลาตกแต่ง 5ปีรวมเวลาทั้งหมด 22 ปี ใช้งบประมาณ 30 ล้านรูปี คนงานก่อสร้าง20,000 คน สร้างขึ้นเพื่อบรรจุศพของพระนางมุมทัส มาฮาล ซึ่งเป็นพระมเหสีสุดที่รักของกษัตริย์ ซาร์เจฮาน แห่งราชวงศ์ดมกุล ทัชมาฮาล ทำด้วยหินอ่อนสีขาวภายในสุสานใต้โดมใหญ่เป็นที่ประดิษฐ์หีบศพของพระนางมุมทัสและกษัตริย์ซาร์ เจฮาน ไว้คู่กันโดยรอบมีเสาไฟทั้ง 4 ทิศ สุสานทัชมาฮาล สร้างติดกับฝั่งแม่น้ำยมนา ในเนื้อที่ 625 ไร่ อยู่ที่แคว้นอัคระ ประเทศอินเดีย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น